ไก่ชน ไทย Secrets
ไก่ชน ไทย Secrets
Blog Article
ถ้าจะเลิกเสียหมดทีเดียว ยังไม่ควรก่อน ถึงเป็นการเล็กน้อยน่าที่จะเป็นความเดือดร้อนแก่ราษฎร เพราะเป็นความสนุกที่นิยมอยู่ทั้งพวกแขกแลไทย
นอกจากนั้นยังได้พบตุ๊กตาดินเผาเป็นรูปเด็กไว้ผมจุก มือหนึ่งอุ้มน้อง มือหนึ่งอุ้มไก่ เรียกกันว่า
ไก่ ทั้ง ๓ ตระกูลดังกล่าวนี้ โบราณถือว่าเป็นชาติของไก่ชนที่มีชาติตระกูล สูงกว่าไก่ทั้งหลาย
เนื่องด้วยการชนไก่ชนะ (สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้. ๒๕๒๙, หน้า ๓๓๗๑.)
นอกจากนี้ ไก่ชนเขียวเลาหางขาวยังถูกผสมข้ามสายพันธุ์กับไก่ชนสายพันธุ์อื่น ๆ ทำให้สายพันธุ์ของไก่ชนเขียวเลาหางขาวเกิดการปนเปื้อน ในปัจจุบัน ได้มีการรณรงค์อนุรักษ์ไก่ชนเขียวเลาหางขาวขึ้น เพื่อป้องกันการสูญพันธุ์ของสายพันธุ์ โดยมีการรวบรวมไก่ชนเขียวเลาหางขาวจากแหล่งต่าง ๆ มาเพาะขยายพันธุ์และอนุรักษ์ไว้ เพื่อเป็นการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมของไทยและเพื่ออนุรักษ์สัตว์ป่าหายาก
๒ ทองอ่อนดอกปุด สีอื่นเหมือนไก่ทองอ่อนทั่วไป เว้นแต่ปลายขนสร้อยสีแดงเท่านั้นเอง ๘.๓ ทองอ่อนเดือยหลาก ลักษณะทั่วไปคล้ายคลึงกับทองอ่อนดอกปุด แต่เกล็ดเดือยมีสีดำเสริม ๘.๔ ทองอ่อนใหญ่ สีทองอ่อนธรรมดา แต่มีเกล็ดผิวหวายตะค้า เดือยขาว ปากขาวแซมดำ
๗. หางขาวเส้นเดียว (หางชัยหรือหางกะลวยขาวเส้นเดียว)
นิลสาลิกา หรือ นิลสาริกา คือไก่ที่มีสีขนเขียวค่อนข้างดำทั้งตัวคล้าย ๆ กับขนของไก่เขียวกา แต่มีนัยน์ตาขาวสีเหลือง ปากเหลือง แข้ง เดือยเหลือง ตุ้มหูสีเหลืองหรือสีขาว ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับสีสันของนกสาลิกาหรือนกขุนทองนั่นเอง เป็นไก่ตระกูลสูงที่หายากมาก
๓๙. ท่ายืนและท่าเดิน ไก่ที่ดีต้องยืนตัวตรง ข้อขาไม่งอ หัวปีกยกตามลักษณะที่เรียกว่า “ยืนผงาดดังราชสีห์” ยืนเชิดหน้าแบบนักเลง อันแสดงถึงนิสัยว่าไม่ยอมลงหัวให้ใคร ข้อขาที่ยึดตรงแสดงถึงการเตะแม่น การเดินสง่าเหมือนกับท่ายืน จังหวะยกเท้าจะกำนิ้วทั้งหมด ภาษานักเลงไก่ชนภาคใต้เรียกว่า “กำหมัด” หรือ “เดินกำหมัด” และเมื่อย่างลงกับพื้นจะแบนิ้วออกทั้งหมด การเดินจะมีความระแวดระวังเฉลียวฉลาด แสดงถึงความเป็นไก่เหลี่ยมจัด สามารถเปลี่ยนชั้นเชิงในการตีได้หลายแบบ (“ไก่ดี ไก่เก่งในสายตาเซียน” ไก่ชน, หน้า ๒๔.)
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติการพนัน พุทธศักราช ๒๔๗๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
หางลุ่น เป็นทรงหางที่ไม่ค่อยมีขนหางหรือหางสั้นเกินไป มักไม่ค่อยเป็นที่นิยมเอามาเป็นไก่ชนเพราะไม่ได้ช่วยพยุงน้ำหนักตัวหรือช่วยในการทรงตัวแต่อย่างใดเลย มักจะล้มลุกคลุกคลานขณะที่ ต่อสู้กัน
หยำไม่ถึงน้ำ หรือ หยำไม่ถึงมือ หมายถึง ฝึกปรือมาไม่เพียงพอ หรือยังไม่ถึงขั้นที่จะสู้รบปรบมือกับใครได้ (คำว่า “หยำ” มาจากภาษานักเลงเลี้ยงไก่ชนว่า “หยำไก่” คือการที่เจ้าของไก่ชนต้องใช้มือ ใช้ผ้าชุบน้ำลูบขยำ นวด เฟ้น ตามตัว ตามแข้ง ขา หรือกล้าเนื้อของไก่ชนของตน เพื่อให้ไก่แข็งแกร่งมีกำลัง ยิ่งกระทำต่อเนื่องกันหลายมื้อก็ยิ่งทำให้แข็งแกร่งมากขึ้น)
ขันนอกเปาะ หมายถึง อวดความกล้าหาญแต่นอกวง เมื่อถึงคราวเผชิญหน้าไม่กล้าสู้ เปรียบได้กับไก่ชนตัวที่ขันคึกแต่นอกสังเวียน (เปาะ) พอให้ชนกันก็วิ่งหนีไม่กล้าสู้
๔ คางรูปผสม หรือ คางผสม ก็คือมีคางรัดตรงไปจรดคอดีมาก แต่ใบหน้าส่วนบนของคิ้วของตาไม่ดีก็เท่ากับดีน้อยกว่าไม่ดี จึงถือเป็นไก่ชนที่คางไม่ดี (ชาติ ไชยณรงค์. ๒๕๓๓, หน้า ๔๑.)ไก่ชน ไทย